วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่
หมู่ 1A   2M(s) + 2H2O (l)                   2M+(aq) + 2OH-(aq) + H2(g)
 เช่น     2Na(s) + (2H2O l)                   2Na+(aq) + 2OH-(aq) + H2(g)
•  โลหะหมู่ IA  และ  IIA  ทำปฏิกิริยากับน้ำได้สารละลายเบสและก๊าซไฮโดรเจน  โดยโลหะหมู่ IA  จะเกิดปฏิริยากับน้ำได้ดังสมการ
               2Na(s)  +  2H2O(l)    ®   2NaOH(aq)  +  H2(g)
   • โลหะหมู่ IIA  จะทำปฏิริยากับน้ำร้อนได้ดีกว่าน้ำเย็น
                Mg(s)  +  2H2O(l)    ®   Mg(OH)2(aq)  +  H2(g)
     ** สรุปความว่องไวในการทำปฏิกิริยากับน้ำได้ดังนี้      ธาตุหมู่ IA  >  หมู่ IIA  >  หมู่ IIIA

วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2558

บทที่ 2 พันธะเคมี

บทที่ 2 พันธะเคมี
      พันธะเคมี  คือ  แรงยึดเหนี่ยวทีอยู่ระหว่างอะตอมซึ่งทำให้อะตอมต่าง ๆ เข้ามาอยู่รวมกันเป็นโมเลกุลได้  การสร้างพันธะเคมีของอะตอมเกิดขึ้นได้  เนื่องจากอะตอมต้องการจะปรับตัวให้ตนเองมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8  หรือให้ใกล้เคียงกับการครบ 8 ให้มากที่สุด  (ตามกฎออกเตตอ่านเพิ่มเติม

บทที่1 อะตอมและตารางธาตุ

บทที่1 อะตอมและตารางธาตุ

    อะตอม คือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสารที่ยังคงสภาพความเป็นสสารอยู่ได้
แบบจำลองอะตอม ตามทฤษฏี มีอยู่  5 แบบ  คือ

1. แบบจำลองอะตอมของดอลตัน อ่านเพิ่มเติม